|
ไม่ทราบว่ามีใครพอจะรู้ว่าวัคซีนตัวนี้(HPV)ที่ประเทศไทยเรามีให้ฉีดกันหรือยังเท่าที่ทราบคือที่ต่างประเทศเขามีกันแล้ว ช่วงแรกเขาฉีดกันเฉพาะผู้หญิงอายุ 9-26ปีและช่วงที่สองคือ 30 ปีขึ้นไปไม่ทราบว่ามีใครที่รู้รายละเอียดมากกว่านี้หรือเปล่า...?
|
|
|
|
Tags: |
|
|
|
นิดา
|
มีวัคซีนป้องกันด้วยเหรอมะเร็งปากมดลูก
|
|
Tags: |
|
|
|
mimshimaro
|
ประเทศไทยมีแล้วค่ะ หลายโรงพยาบาลเลย ลองโทรไปสอบถามโรงพยาบาลไกล้บ้านดูค่ะ
shot เป็น 3 series ครั้งแรก-ครั้งที่สองห่างกันสองเดือน ครั้งที่สามห่างไปห้าเดือน เข็มละประมาณสามพันขึ้นไป (ราคาที่อเมริกาประมาณเข็มละ $145-160 (จำไม่ได้อ่าแต่เราฉีดฟรี)) ตัวยาค่อนข้างข้น (เจ็บเหอะ) ได้ผลดีมากที่สุดถ้าได้รับวัคซีนเมื่อยัง virgin วัคซีนไม่รับประกันการป้องกัน 100% เพราะสาเหตุการเป็นมะเร็งปากมดลูกมันหลากหลายแต่ตัวยาที่ทำมาทำเพื่อป้องกันสาเหตุหลัก(virusตัวหลักๆ)
คห.1 มีค่ะ เราฉีดครบสามเข็มเลย ยามีชื่อว่า Gardasil มียี่ห้อเดียว เปิดตัวที่ไทยประมาณปี 2007 (อันนี้เราเห็นที่งานสัมมนาของหมอ)
|
|
Tags: |
|
|
|
|
เท่าที่เรารู้มา ตอนนี้มีวัคซีนอยู่ 2 ยี่ห้อนะคะ
1. Gardasil วัคซีนชนิด 4 สายพันธุ์ อย่างที่บอกแล้วว่าสายพันธุ์ที่เกี่ยวกับการเกิดมะเร็งปากมดลูกที่วัคซีนในตอนนี้สามารถป้องกันได้มีเพียง 2 สายพันธุ์ ดังนั้น อีก 2 สายพันธุ์ไม่ได้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกแต่อย่างใด แต่ 2 สายพันธุ์นี้จะช่วยป้องกันการเกิดโรคหูดหงอนไก่ ซึ่งเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แต่ที่จริงแล้ว หากเป็นโรคหูดหงอนไก่ ก็สามารถรักษาให้หายได้โดยการตัดออก ไม่ได้มีอันตรายถึงชีวิต ถามว่า 2 สายพันธุ์ที่เค้าแถมมาสำหรับป้องกันหูดหงอนไก่นี้จำเป็นไหม ถ้าเป็นเราเราคิดว่าก็ไม่ได้จำเป็นเท่าไหร่
2. Cervarix วัคซีนชนิด 2 สายพันธุ์ วัคซีนนี้ออกจะดูเหมือนไม่ค่อยน่าสนใจ เพราะว่าป้องกันหูดหงอนไก่ไม่ได้ แต่ข้อดีก็คือ บริษัทเค้าบอกว่าในวัคซีนได้ผสมสารตัวหนึง ซึ่งช่วยให้วัคซีนมีประสิทธภาพในการป้องกันโรคได้ยาวนานกว่า ซึ่งได้ทำการวิจัยแล้วในคนช่วงอายุที่กว้างกว่าวัคซีนอีกชนิดหนึ่ง พบว่าได้ผลดี
นอกจากนี้ ช่วงอายุที่ให้ผลป้องกันยังต่างกันด้วยค่ะ Gardasil แนะนำให้ฉีดในช่วงอายุ 9 – 26 ปี ส่วน Cervarix ก็ช่วงอายุ 10 – 45 ปี
แต่พี่สาวเราที่เป็นพยาบาลแนะนำให้ฉีด Cervarix อ่ะค่ะ บอกว่า จากส่วนผสมของตัวยาแล้ว ให้ผลดีกว่า และก็ป้องกันได้นานกว่าด้วยค่ะ Gardasil ประมาณ 5 ปี ส่วน Cervarix ประมาณ 7 ปีค่ะ
แต่จะให้ผลดีที่สุดคือ ต้องฉีดก่อนมีเพศสัมพันธ์ค่ะ หุหุ ^^
|
|
Tags: |
|
|
|
ลลิตา
|
อยากทราบว่า วัคซีนราคาเท่าไหร่คะ อายุ 30 กว่าแล้ว แต่งงานมีลูกแล้ว ฉีดได้มั้ยคะ ช่วยตอบด้วยค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
เมาท์เทน
|
หูดหงอนไก่รักษาหายได้นะค่ะ แต่ สายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดมะเร็งนั้นอันตรายมากกว่า ตอนแรกเองเราก็เข้าใจผิดจนได้ไปพบกับหมอ คุณหมอก็ใจดีมากๆแล้วก็ให้ข้อมูลเพื่อให้เราตัดสินใจเอง เราเลือกฉีด cervarix เพราะว่า ผลการวิจัยที่เห็นชัดเจน การป้องกันที่นานกว่า และที่สำคัญแก้ไขได้ตรงจุดมากกว่า
|
|
Tags: |
|
|
|
|
เราเองก็ฉีดวัคซีนเหมือนกัน และเมื่อเร็วๆนี้ก็พาเพื่อนไปฉีด ของเราและเพื่อนฉีดของ cervarix และก็ได้ข้อมูลใหม่มาว่า ความจริงแล้วมะเร็งปากมะลูกที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงสุด คือ มะเร็งปากมดลูกชนิด อะดีโน มะเร็งปากมดลูกชนิดนี้ เป็นชนิดที่ตรวจพบได้ยาก และการตรวจคัดกรองไม่สามารถเข้าไปถึงได้ และเมื่อตรวจคัดกรองไม่พบก็จะยิ่งทำให้มะเร็งลุกลามเ็ร็วขึ้น ซี่งตรงนี้แหละที่ทำให้มีสถิติผู้เสียชีวิตที่สูงมาก
|
|
Tags: |
|
|
|
|
|
|
Tags: |
|
|
|
|
เมือวันก่อนผ่านไปแถวๆพระราม 4 ไปเจอ Road Show เกียวกับมะเร็งปากมดลูกเห็นมีเหล่า get divas มาร่วมงานด้วย และได้ข้อมูลมาว่าในวันที่ 29 จะไปแถวๆ บางเขน ตลาด บอง มา เช่ ฯลฯ ด้วย
|
|
Tags: |
|
|
|
ทุเรียนทอดกรอบ
|
โครงการ Road Show เราว่าเจ๋งดีค่ะ มีคนอีกมากค่ะที่ยังไม่รู้ว่ามีวัคซีนป้องกัน และเชื่อเลยว่าส่วนใหญ่ไม่รู้หรอกว่าติดจากการมีเพศสัมพันธ์ด้วย แบบนี้ผู้หญิงจะได้ป้องกันตัวได้ทันค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
|
ไปอ่านข่าวเจอมาค่ะ เป็นตาราง Road Show ค่ะว่าจะไปที่ไหนบ้างหน่ะค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
beem_21
|
รู้สึกว่าวัคซีนที่ จขกท ถามถึงจะเป็นของ Cervarix ค่ะ วัคซีนของ Cervarix จะป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดยเฉพาะค่ะ ประสิทธิภาพในการป้องกันมะเร็งจะสูงมากกว่าของ Gardasil ค่ะ เราเคยอ่านเจอมาประมาณนี้ค่ะ ของ Cervarix ภูมิคุ้มกันจะสูง และป้องกันได้นานกว่าค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
|
ลองไปหาข้อมูลเพิ่มเติมมาแล้วค่ะ(HPV)หรือ(Human Papillomavirus)จะมีประสิทธิภาพต่างดีกว่าวัคซีนชนิดอื่นซึ่งเหมาะสำหรับอายุ9-26ปีราคาเข็มล่ะ400ดอลล่ากำหนดช่วงระยะเวลาในการฉีด คือ 0,2,6 มีผลคุ้มกันนานกว่า5ปี
|
|
Tags: |
|
|
|
|
HPV Human Papilloma Virus - Genital Warts
General Information
The Human Papilloma Virus (HPV) is the cause of both genital and non-genital warts. This is a very common family of viruses. There are actually more than 100 different strains of HPV. Of these, approximately 30 exist in the genital area and can cause genital warts (condyloma acuminata). These 30 strains can be further broken down to "high" and "low" risk strains.
High risk strains may cause changes in a Pap smear which may rarely progress to cancer. There are approximately 13 high-risk strains of HPV, of which two (16 & 18) are believed to cause about 70% of all cervical cancer.
Low risk strains sometimes cause changes in a Pap smear, but do not progress to cancer. Of the low-risk strains, two (6 &11) are most likely to cause genital warts.
This article discusses the genital strains of HPV.
Transmission - HPV is spread by close genital contact, and is thus nearly always sexually transmitted. While there have been rare reports of infection from tanning beds, it is extremely unlikely that this virus would be transmitted through shared clothing, bed sheets, etc.
Incubation Period - The time from infection until you have any signs (e.g. a wart or abnormal Pap smear) is both long and variable. It may be anywhere from a few weeks to more than 1 year. In addition, any changes that do occur may not be noticed for additional months or years. Thus, it is often extremely difficult or impossible to figure out who infected whom. There is both some bad and a lot of good news about this infection.
|
|
Tags: |
|
|
|
|
The Bad News:
HPV infection is extremely common. - It is estimated that at any given time 20-40 million Americans are infected. - Over a typical college career approximately 60% of sexually active women will become infected. While it is assumed that a similar number of men are also infected, there are no good statistics as it is harder to test for HPV in men than women.
Cancer of the cervix is almost always caused by HPV infection (high risk strains).
Since HPV is transmitted by close genital contact, condoms provide some, but imperfect, protection against infection.
There is no test that can guarantee that anyone (particularly men) are not infected with HPV.
HPV infection is particularly serious in those with an immune disorder (e.g. HIV/AIDS) HPV can be contracted by one person, cause absolutely no symptoms, and, months or years later, be transmitted to a new partner
The Good News:
The large majority of people cure themselves (usually without ever knowing that they had been infected). Average length of time from infection to cure is about 8 months. Most times, if low risk HPV is detected in a woman without symptoms, we would recommend only "watchful waiting" as treatment.
Early changes on the cervix which could lead to cancer are nearly always discovered on Pap tests.
Warts, if they develop, are usually treatable.
The HPV virus is so common that it can almost be considered normal to have it.
HPV, as well as other STIs, is no more common at Rutgers University than other similar institutions
|
|
Tags: |
|
|
|
|
Symptoms:
Often none at all. Rarely painful or itchy.
Warts - may not be present but when they are they tend to grow in the genital area in both men and women. In addition, they may be seen in or around the urethra, anus and sometimes the mouth, lips, tongue and throat. The warts may vary in appearance but typically look like this (warning, clicking on link will bring up graphic pictures).
Diagnosis:
In Women - Diagnosed either by a Pap test which suggests HPV and is then confirmed by a second test, or by the presence of visible warts.
In Men - May only be diagnosed if warts can be seen. A vinegar solution is sometimes applied to the skin to help visualize flat warts.
Pictures of genital warts (warning - graphic pictures).
Potential Complications:
Cancer of the cervix is almost always associated with high risk strains of HPV (although the vast majority of those with HPV infection never develop cancer).
It is less clear whether other types of cancer (e.g. penile, anal) are at any increased risk.
Rarely wart growth may block the urethra, interfering with urination
|
|
Tags: |
|
|
|
|
Treatment:
Most people "cure" themselves - usually without ever knowing that they were infected. This would be the usual treatment for those women found to have HPV on routine testing or with mildly abnormal Pap smears.
There are several treatment options for treating HPV/warts. These range from prescription creams (effective but expensive), to burning the warts with acid or by laser, freezing them with liquid nitrogen, or surgical removal. Treatment by any of theses means often, but not always, leads to a cure. Except for laser and surgical therapy, all of these treatment options are available at RHS.
Some women will need to go for a test called colposcopy to take a better look at the cervix. During this test, treatment to the cervix is often done
Prevention:
Only total absence with of skin to skin contact with an infected individual will insure protection. Condoms (male and female) and dental dams offer some, but limited protection against this infection.
Annual Gyn exams help to find any evidence of infection and the Pap test that is done periodically will check for early changes associated with HPV infection. Vaccination:
The vaccine In June 2006, a HPV vaccine (Gardasil? was approved by the FDA. This vaccine protects against 4 strains of HPV (6, 11, 16, 18) that are responsible for the majority of genital warts and about 70% of cervical cancers. Protection it offers Helps protect against the following diseases caused by HPV: Cervical cancer. Abnormal and precancerous cervical and/or vaginal lesions. Genital warts. Limitations Vaccination will help prevent infection with HPV, but will not treat an infection that is already present. Once infected with a strain of HPV, immunity to that strain typically develops. However, even in someone already infected with HPV, the vaccine may still make sense as it can protect against other strains of HPV. The vaccine protects against the most common strains of HPV, but not others. Since not all strains are covered, regular gyn exams and Pap smears are still necessary. Administration and side effects A total of three shots given over six months (0, 2, 6 months). Side effects are typically mild (local pain or redness, low grade fevers, nausea, dizziness) Who is it recommended for? Girls/women between the ages of 9-26 While there is an advantage if it is given before sexual activity has begun (to insure no prior infection with HPV), there is still a benefit in giving to women who may have already been infected with HPV as it will protect against other strains. What about men? Gardasil?is currently only recommended in girls/women. Studies are looking at its efficacy in boys/men now. Availability/cost RHS-NB/P does stock Gardasil?and is able to provide to students. This is an expensive vaccine (price fluctuates, but the series will typically cost around $400). Many insurances will cover the cost ?some will allow for the vaccine to be given at Rutgers, others will insist it be given at your own doctor office. Check with your insurance carrier
|
|
Tags: |
|
|
|
|
Rutgers and HPV:
Rutgers University has about the same incidence of HPV (and other STIs) as any other similar university or other groups of sexually active young adults.
Rutgers University Health Services has been at the forefront of medical studies to determine how frequent HPV occurs and what the natural history of HPV is. In fact, the New England Journal of Medicine (the most prestigious journal in medicine) published research that largely originated at Rutgers. This publication received a lot of publicity at the time and may have fed a misconception that HPV or other STIs are more common at Rutgers. More information on the Rutgers HPV study.
|
|
Tags: |
|
|
|
ผิดเวลา
|
ู^ ^ หน้าม้า Gardasil ชัวร์เลย ไม่มีข้อเปรียบเทียบกับวัคซีนตัวอื่นเลยมีแต่ Gardasil ล้วนๆ 
|
|
Tags: |
|
|
|
คิดเหมือนกันเลย
|
ูตอนนี้ที่เรากำลังศึกษาหาข้อมูลอยู่ตอนนี้มีอยู่ 2 ยี่ห้อดังๆ คือ ชนิด 4 สายพันธุ์ คือ Gardasil ป้องกันสายพันธุ์ที่ 16 และ 18 ส่วนสายพันธุ์ที่ 6 และ 11 คือ หูดซึ่ง 2 สายพันธุ์นี้รักษาให้หายได้ อันตรายไม่ร้ายแรงเท่ากับการติดเชื้อสายพันธุ์ที่ 31 และ 45 ซึ่งสองสายพันธุ์นี้ทำให้เสียชีวิตได้ และรักษาหายยาก ส่วนอีกชนิดคือ Cervarix อันนี้ป้องกันมะเร็งปากมดลูกสายพันธุ์ที่ 16 และ 18 แต่ในข้อมูลการวิจัยที่เราไปอ่านมารู้สึกว่ายังจะสามารถคลอบคลุมได้อีก 2 สายพันธุ์คือ 31 และ 45 ด้วย
|
|
Tags: |
|
|
|
|
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก มีอยู่ 2 ยี่ห้อ ที่เห็นตอนนี้ ก็คือ การ์ดาซิล กับ เซอเวอริก (Cervarix) ลองไปเซิร์ส หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ เกี่ยวกับข้อมูลทาง บริษัท แต่วันนี้ เห็นกระทู้ยาว เลยมาเป็นส่วนหนึ่งในการให้ข้อมูลบ้าง อะไรบ้าง ตาม LinK นะคะ
http://mchnetwork.thaihealthykids.com/site_data/thaihealthykids_mchnetwork/1/schedual_53/pdf/10_6VittayaT.pdf
เครดิตข้อมูล รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
ซึ่งท่านเขียนไว้น่าสนใจมากๆคะ เพราะมีการเปรียบเทียบ วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกทั้งสองชนิดไว้ได้ดีเลยทีเดียวคะ
|
|
Tags: |
|
|
|
ซาลาเปาสีชมพู
|
วันนี้เราอ่านเจอจากนิตยสาร cosmopolitan เค้าบอกว่า Cervarix ป้องกันได้อย่างน้อย 6-7 ปีค่ะ ซึ่งมากกว่าของ Gardasil (อันนี้กันได้ประมาณ 5 ปีค่ะ) แล้วก็ Cervarix ผ่านการรับรองจาก FDA แล้วด้วย
|
|
Tags: |
|
|
|
|
เอามายืนยันกันให้เห็นไปเลย หนังสือ Cosmopolitan ฉบับ เดือน 8 เค้าลงว่าไง
|
|
Tags: |
|
|
|
|
|
|
คาลิลยิบราน
|
พอดีมีข้อสงสัยหลายข้อเลยค่ะอยากสอบถามค่ะ
1. เค้าใช้เครืองมืออะไรบ้างในการตรวจคัดกรองคะ แล้วเราจะสามารถทราบผลการตรวจเมื่อไหร่คะ 2. ในการตรวจคัดกรอง เค้าต้องโกนขนด้วยหรือเปล่าคะ 3. เราสามารถเลือกคุณหมอในการตรวจคัดกรองได้ไหมคะ เพราะอายไม่กล้าตรวจกับหมอผู้ชาย 6
รบกวนท่านผู้ที่เคยไปฉีดมาแล้วตอบหน่อยนะค่ะ ตอนนี้คิดจะไปฉีดวัคซีนป้องเอาไว้เหมือนกันค่ะ เห็นว่าที่โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น เค้ามีการแบ่งจ่ายด้วย นิค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
จับเลี้ยง
|
เอ่อผมตอบข้อที่ 3 ได้ข้อเดียวครับคือผมเคยไปเป็นเพื่อนพี่สาวสามารถเลือกตรวจได้ครับว่าจะตรวจกับหมอผู้หญิง หรือหมอผู้ชายพี่สาวผมเลือกทีจะตรวจกับหมอผู้หญิงครับ ส่วนเรื่องการตรวจอันนี้ต้องรอท่านอื่นมาตอบแล้วหล่ะครับ
|
|
Tags: |
|
|
|
เนิ่นนาน
|
มาตอบให้ต่อจากคุณ จับเลี้ยงแล้วกันนะค่ะ คริ คริ
Q1 :: เค้าใช้เครืองมืออะไรบ้างในการตรวจคัดกรองคะ แล้วเราจะสามารถทราบผลการตรวจเมื่อไหร่คะ
A1 :: คุณหมอจะมีอุปกรณ์ในการตรวจพิเศษค่ะโดยปกติจะทราบผลการตรวจภายใน 1 สัปดาห์
Q2 :: ในการตรวจคัดกรอง เค้าต้องโกนขนด้วยหรือเปล่าคะ
A2 :: ไม่ต้องโกนค่ะ
ตอนที่เราไปตรวจคัดกรอง+กับวัคซีน เสียค่าใช้จ่ายประมาณ 7 พันบาทเองค่ะค่าตรวจคัดกรอก 200 บาทค่าวัคซีน(ฉีดของ Cervarix) ราคา 6800 บาทค่ะ 7 พันแต่แลกกับการเป็นโรคร้ายแบบนี้ถือว่าโอเคเลยค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
|
เท่าทีหาข้อมูลมา คิดว่าตัวเองตัดสินใจไม่ผิดที่เลือกฉีดวัคซีน Cervarix ค่ะ เพราะเพื่อนๆหลายคนทั้งในบอร์ดนอกบอร์ดก้แนะนำให้ฉีดตัวนี้ทั้งนั้น แม่แต่คุณหมอที่เราไปตรวจด้วยก้แนะนำค่ะ แล้วเรายิ่งมาหานข้อมูลประกอบทั้งบทความตามหนังสือ ผลการวิจัยจากต่งประเทศแล้วยิ่งทำให้มั่นใจว่่าตัวนี่แหละป้องกันได้แน่จริง
|
|
Tags: |
|
|
|
|
เมื่อเร็วนี้เพื่อนเค้าไ้ด้ฉีดวัคซีนมะเร็งปากมดลูกของ Cervarix ด้วย บริษัทเค้าให้ฉีดฟรีอ่ะ โชคดีเป็นบ้าที่ได้ทำงานที่ SCG อ่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
เอ่อเรอร์
|
ดีจริงทำไมบริษัทเราไม่มีสวัสดิการแบบนี้บ้างนะ เราต้องไปฉีดเองของ Cervarix ราคา 6800 แต่ว่าเค้าให้แบ่งจ่าย แล้วก็ฉีด ทั้งหมด 3 ครั้งแหนะ
|
|
Tags: |
|
|
|
|
ตอนนี้เห็นเรื่องเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกเยอะขึ้น ผู้หญิงส่วนใหญ่หันมาใส่ใจกับโรคนี้มากขึ้น อย่างล่าสุดเราได้ดูซิทคอมเรื่องบริษัทสร้างสุข ชื่อตอนคือ เรื่องของผู้หญิง เรื่องนี้ก็ให้ความรู้แถมความสนุกด้วยใครที่ไม่ได้ดูก็ลองเข้าไปดูสิ ได้ความรู้ดีแล้วจะรู้ว่ามะเร็งปากมดลูกอยู่ใกล้ตัวเรามากแค่ไหน
|
|
Tags: |
|
|
|
|
อันนี้เป็นตอนทีเ่หลือค่ะ ดูแ้ล้วฮาแถมได้ความรู้อีกนะคะ่
ตอนที่ 2
ตอนที่ 3
|
|
Tags: |
|
|
|
|
อันนี้เป็นตอนที่ 4
และนี่เป็นตอนสุดท้ายค่ะ
ตอนนี้ได้เอ๊ะมาเป็นแขกรับเชิญค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
แอนนา
|
อยากทราบเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งมดลูก ถ้าเคยเป็นหูดที่บริเวณอวัยวะสืบพันธ์มา และปัจจุบันรักษาหายขาดแล้ว ควรฉีดวัคซีนชนิดไหนคะ ระหว่าง Gardasil หรือ Cervarix และจำเป็นต้องฉีดซ้ำ เพื่อกระต้นทุกกี่ปีคะ
|
|
Tags: |
|
|
|
แอบดู
|
เราเคยฉีดของ cervarix ค่ะ สามารถป้องกันได้นานอย่างน้อยถึง7 ปี และเจ้าวัคซีนตัวนี้คุณหมอบอกว่ายังป้องกันมะเร็งปากมดลูกชนิดอะดีโน ที่ไม่สามารถตรวจพบในการตรวจ แพปสเมียร์ด้วยค่ะ
|
|
Tags: |
|
|
|
ดุ๊กดิ๊กน่ารักจัง
|
เป็นโรคที่น่ากลัวมากเลยอ่ะเราเคยอ่านเจอในหนังสือพิมพ์ ข่าวสด ฉบับเมื่อเดือนที่แล้วเห็นมีข่าวเกี่ยวกับสาเหตุการเป็นและการป้องกันมะเร็งปากมดลูกด้วย เห็นเพื่อนบอกว่าในนิตยสารคลีโอก็มีเหมือนกันนะ
|
|
Tags: |
|
|
|
comax
|
เราเคยอ่านเจอบทความแนวนี้ในหนังสือพิมพ์ ข่าวสดกับบ้านเมืองด้วย อ่านแล้วคิดว่าผู้หญิงเราไม่ค่อยจะใส่ใจกับเรื่องเหล่านี้สักเท่าไหร่ทำให้สถิติการเสียชีวิตยังสูงขึ้นเรื่อยๆ
|
|
Tags: |
|
|
|
comax
|
เคยอ่านเจอบทความเกี่ยวกับพวกมะเร็งปากมดลูกในหนังสือพิมพื ข่าวสด กับบ้านเมืองด้วย ดีจังมีการพูดถึงความร้ายแรงของโรคนี้อย่างน้อยๆก็น่าจะทำให้สถิติการเสียชีวิตจากโรคนี้ลดน้อยลง
|
|
Tags: |
|
|
|
Tarinee
|
เราฉีดวัคซีนแล้วค่ะ ฉีดครบ 3 เข็มแล้วด้วย ที่เราฉีดเป็นของ Cervarix ป้องกันได้ประมาณ 7-8 ปี ที่ฉีดเพราะรู้สึกว่าเดี๋ยวนี้มันใกล้ตัวมากๆ สื่อก็พูดถึงกันมาก ทั้งทีวี หนังสือพิมพ์ ทำให้กลัวค่ะ ฉีดแล้วก็สบายใจขึ้น
|
|
Tags: |
|
|
|
sawasdee thailand
|
ทำไมอ่านแล้วเจอ วัคซีน gardasil ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันล้มเลว ของที่อเมริกา บางบล็อคก็บอก ทำให้ปวดข้อเขาเรื้อรัง หรือไม่กก็ไช่ไม่ตก ระบบสืบพันธุ์ล้มเลว ไปเลย ปฃฃอยภัยจริงเหรอ วัคซีนนี้
|
|
Tags: |
|
|
|
thailand smile
|
ทำไมอ่านแล้วเจอ วัคซีน gardasil ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันล้มเลว ของที่อเมริกา บางบล็อคก็บอก ทำให้ปวดข้อเขาเรื้อรัง หรือไม่ก็ไช่ไม่ตก ระบบสืบพันธุ์ล้มเลว ไปเลย ปลอยภัยจริงเหรอ วัคซีนนี้เห็นที่ รพ โฆษณาแต่ข้อดี แนะนำให้ฉีด ไม่เห็นพูดถึงข้อเสียเลยนิ
Between May 2009 and September 2010, 16 deaths after Gardasil vaccination were reported. For that timeframe, there were also 789 reports of "serious" Gardasil adverse reactions, including 213 cases of permanent disability and 25 diagnosed cases of Guillain Barre Syndrome,
But on the National Vaccine Information Center's (NVIC) Web site, you can read about Gabi Swank's Gardasil reaction and other descriptions of women and girls who have suffered serious health deterioration after Gardasil shots and, in some cases, have died shortly after receiving this vaccine. The growing Gardasil vaccine injury toll has become too large to ignore:
Christina Tarsell, a 21-year-old college student majoring in studio arts at Bard College, who died suddenly and without explanation shortly after receiving the third Gardasil shot in June 2008. Megan, a 20-year-old college student who died suddenly, without explanation, about one month after receiving her third Gardasil shot. No cause of death was found. Ashley, a 16-year-old who became chronically ill after receiving Gardasil, and now suffers regular life-threatening episodes of seizure-like activity, difficulty breathing, back spasms, paralysis, dehydration, memory loss and tremors.
https://www.youtube.com/watch?v=_13plsrydPY
http://articles.mercola.com/sites/articles/archive/2012/01/24/hpv-vaccine-victim-sues-merck.aspx
http://www.nvic.org/vaccines-and-diseases/HPV/gabrielle.aspx
|
|
Tags: |
|
|
|
|